ตัวอย่าง การเขียนหลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตร การทำขนมจีน –น้ำยา หล่มเก่า
ความสำคัญ
ขนมจีน เป็นอาหารที่นิยมรับประทานกันทั่วทุกภาคของประเทศไทย
นอกจากจะทำรับประทานในครอบครัวแล้วยังสามารถทำขายเป็นอาชีพได้
ขนมจีนอำเภอหล่มเก่าเป็นอาหารพื้นบ้านที่ขึ้นชื่อของจังหวัดเพชรบูรณ์
ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกว่าขนมจีนที่อื่น คือ เส้นขนมจีนจะทำขึ้นมาใหม่ ๆ
เส้นจะเหนียว ขาว นุ่ม มีเส้นเล็ก สีของเส้นขนมจีนนอกจากจะเป็นเส้นสีขาวธรรมดาแล้ว
ยังมีเส้นทีใช้สีจากสมุนไพรชนิดต่าง ๆ เช่นเส้นสีเหลืองจากฟักทอง
เส้นสีม่วงจากดอกอัญชัน เส้นสีเขียวจากใบเตย เส้นสีส้มจากแครอท
เป็นต้นด้วยลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์นี้จึงทำให้ขนมจีนหล่มเก่าเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย
และเรียกกันติดปากว่า “ขนมจีนหล่มเก่า”
จุดมุ่งหมาย
1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและ มีทักษะในการทำขนมจีนหล่มเก่า
2. เพื่อเป็นการส่งเสริม อนุรักษ์ขนมธรรมเนียมประเพณี และสืบสานการทำขนมจีนหล่มเก่า
3. เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้
2. เพื่อเป็นการส่งเสริม อนุรักษ์ขนมธรรมเนียมประเพณี และสืบสานการทำขนมจีนหล่มเก่า
3. เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงวิธีการและขั้นตอนการทำขนมจีนหล่มเก่า
2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการทำขนมจีนหล่มเก่า
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความตระหนักรู้จักการอนุรักษ์ขนมธรรมเนียมประเพณี และสืบสานการทำขนมจีนหล่มเก่า
2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการทำขนมจีนหล่มเก่า
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความตระหนักรู้จักการอนุรักษ์ขนมธรรมเนียมประเพณี และสืบสานการทำขนมจีนหล่มเก่า
เนื้อหาหลักสูตร
ประกอบด้วยเนื้อหา
5 เรื่อง ดังนี้
1. ประวัติความเป็นมาของขนมจีน
2. วิธีการทำขนมจีนหล่ม
3. การบรรจุภัณฑ์
4. การบริหารจัดการและการตลาด
5. การให้บริการ
1. ประวัติความเป็นมาของขนมจีน
2. วิธีการทำขนมจีนหล่ม
3. การบรรจุภัณฑ์
4. การบริหารจัดการและการตลาด
5. การให้บริการ
เวลาเรียน
หลักสูตรการทำขนมจีน
– น้ำยา หล่มเก่า ใช้เวลาเรียนทั้งหมด 50 ชั่วโมง
ภาคทฤษฎี 18 ชั่วโมง
ภาคปฏิบัติ 32 ชั่วโมง
ภาคทฤษฎี 18 ชั่วโมง
ภาคปฏิบัติ 32 ชั่วโมง
แหล่งการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียน
1. ใบความรู้เนื้อหาวิชาการทำขนมจีน ประกอบด้วย 5 เรื่อง
2. แหล่งเรียนรู้ ร้านบุญมีขนมจีน อำเภอหล่มเก่า
2. แหล่งเรียนรู้ ร้านบุญมีขนมจีน อำเภอหล่มเก่า
กิจกรรมการเรียนรู้
1. ศึกษาความรู้ด้านทฤษฎี
2. ฝึกปฏิบัติ
3. ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้
2. ฝึกปฏิบัติ
3. ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้
การวัดผลประเมินผล
1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้/การมีส่วนร่วม
2. การประเมินผลงาน
2. การประเมินผลงาน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการทำขนมจีน – น้ำยา หล่มเก่า
2. ผู้เรียนสามารถทำขนมจีน – น้ำยา หล่มเก่า ได้
3. ผู้เรียนมีความตระหนักการอนุรักษ์ขนมธรรมเนียมประเพณี และสืบสานการทำขนมจีนหล่มเก่า
4. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ ในการประกอบอาชีพได้
2. ผู้เรียนสามารถทำขนมจีน – น้ำยา หล่มเก่า ได้
3. ผู้เรียนมีความตระหนักการอนุรักษ์ขนมธรรมเนียมประเพณี และสืบสานการทำขนมจีนหล่มเก่า
4. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ ในการประกอบอาชีพได้
โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร
เรื่องที่
1 ประวัติความเป็นมาของขนมจีน จำนวน 3 ชั่วโมง
1.1 ประวัติขนมจีนทั่วไป
1.2 ประวัติขนมจีนหล่มเก่า
1.1 ประวัติขนมจีนทั่วไป
1.2 ประวัติขนมจีนหล่มเก่า
เรื่องที่
2 วิธีการทำขนมจีนหล่มเก่า จำนวน 27 ชั่วโมง
2.1 วัสดุ อุปกรณ์ และวัตถุดิบสำหรับทำขนมจีนหล่มเก่า
2.2 วิธีการ และขั้นตอนการทำขนมจีนหล่มเก่า
2.3 การทำน้ำยา
2.4 การทำเครื่องเคียง
2.1 วัสดุ อุปกรณ์ และวัตถุดิบสำหรับทำขนมจีนหล่มเก่า
2.2 วิธีการ และขั้นตอนการทำขนมจีนหล่มเก่า
2.3 การทำน้ำยา
2.4 การทำเครื่องเคียง
เรื่องที่
3 การบรรจุภัณฑ์ จำนวน 9 ชั่วโมง
3.1 การออกแบบและบรรจุภัณฑ์
เรื่องที่
4 การบริหารจัดการและการตลาด จำนวน 3 ชั่วโมง
4.1 วางแผน
4.2 เทคนิคการขาย
4.3 การทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
4.2 เทคนิคการขาย
4.3 การทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
เรื่องที่
5 การให้บริการ จำนวน 8 ชั่วโมง
5.1 ความหมาย ความสำคัญของการให้บริการ
5.2 เทคนิคการการบริการสำหรับผู้ประกอบการ
5.3 การปฏิบัติตนในการให้บริการลูกค้า
5.2 เทคนิคการการบริการสำหรับผู้ประกอบการ
5.3 การปฏิบัติตนในการให้บริการลูกค้า
หลักสูตรการทำข้าวหลาม น้ำหนาว
ความสำคัญ
ปัจจุบันประชาชนอำเภอน้ำหนาว มีการประกอบอาชีพเสริม ด้วยการทำข้าวหลาม โดยนำเอาวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่น คือไม้ไผ่ และข้าวไร่ (พันธ์พญาลืมแกง) มาทำเป็นข้าวหลาม เพื่อรับประทานและทำจำหน่าย เป็นสินค้าประจำท้องถิ่น นอกจากนั้นยังเป็นการส่งเสริมประเพณีเผาข้าวหลามประจำปีของอำเภอน้ำหนาว ซึ่งจะจัดขึ้นในช่วงปลายเดือนธันวาคมของทุกปีอีกด้วย
ปัจจุบันประชาชนอำเภอน้ำหนาว มีการประกอบอาชีพเสริม ด้วยการทำข้าวหลาม โดยนำเอาวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่น คือไม้ไผ่ และข้าวไร่ (พันธ์พญาลืมแกง) มาทำเป็นข้าวหลาม เพื่อรับประทานและทำจำหน่าย เป็นสินค้าประจำท้องถิ่น นอกจากนั้นยังเป็นการส่งเสริมประเพณีเผาข้าวหลามประจำปีของอำเภอน้ำหนาว ซึ่งจะจัดขึ้นในช่วงปลายเดือนธันวาคมของทุกปีอีกด้วย
จุดมุ่งหมาย
1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถิ่นมีอาชีพเสริม
2. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำข้าวหลามน้ำหนาว และสามารถทำข้าวหลามได้
3. เพื่อส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ประเพณีเผาข้าวหลาม ประจำปีของอำเภอน้ำหนาว
2. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำข้าวหลามน้ำหนาว และสามารถทำข้าวหลามได้
3. เพื่อส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ประเพณีเผาข้าวหลาม ประจำปีของอำเภอน้ำหนาว
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำข้าวหลามน้ำหนาว
2. เพื่อให้มีทักษะในการทำข้าวหลาม
3. เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้
2. เพื่อให้มีทักษะในการทำข้าวหลาม
3. เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้
เนื้อหาของหลักสูตร
ประกอบด้วยเนื้อหา
2 เรื่อง ดังนี้
1. วัสดุ อุปกรณ์ ในการทำข้าวหลาม
2. ขั้นตอนในการทำข้าวหลาม ไส้ต่าง ๆ
1. วัสดุ อุปกรณ์ ในการทำข้าวหลาม
2. ขั้นตอนในการทำข้าวหลาม ไส้ต่าง ๆ
เวลาเรียน
ภาคทฤษฎี 3 ชั่วโมง
ภาคปฏิบัติ 15 ชั่วโมง
ภาคปฏิบัติ 15 ชั่วโมง
สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
1. ใบความรู้เรื่องการทำข้าวหลามน้ำหนาว
2. แหล่งการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น การทำข้าวหลามน้ำหนาว
2. แหล่งการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น การทำข้าวหลามน้ำหนาว
กิจกรรมการเรียนรู้
1. การเรียนรู้ทฤษฎี
2. การฝึกปฏิบัติ
3. ศึกษาดูงานแหล่งการเรียนรู้
2. การฝึกปฏิบัติ
3. ศึกษาดูงานแหล่งการเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
วิธีวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ประกอบด้วย
1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วม
2. การประเมินชิ้นงาน
1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วม
2. การประเมินชิ้นงาน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำข้าวหลามน้ำหนาว
2. ผู้เรียนสามารถทำข้าวหลามน้ำหนาวได้
3. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้
2. ผู้เรียนสามารถทำข้าวหลามน้ำหนาวได้
3. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้
โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร
เรื่องที่ 1. วัสดุอุปกรณ์ในการทำข้าวหลาม จำนวน 5 ชั่วโมง วัสดุอุปกรณ์ในการทำข้าวหลาม ได้แก่
ไม้ไผ่ ข้าวเหนียว น้ำกะทิ เกลือป่น น้ำตาลทราย และเผือก/ถั่ว
เรื่องที่ 2 ขั้นตอนการทำข้าวหลาม
จำนวน 13 ชั่วโมง
– การคัดเลือกชนิดไม้ไผ่
– การแช่ข้าวเหนียว
– การผสม น้ำกะทิ น้ำตาลทราย เกลือป่น เข้าด้วยกัน
– การนำข้าวเหนียว มาคลุกเคล้ากับส่วนผสม และใส่ไส้ชนิดต่าง ๆ
– การกรอกส่วนผสมใส่กระบอก
– การเผาข้าวหลาม
แหล่งข้อมูล https://panchalee.wordpress.com/2009/10/06/local_curricula/
– การคัดเลือกชนิดไม้ไผ่
– การแช่ข้าวเหนียว
– การผสม น้ำกะทิ น้ำตาลทราย เกลือป่น เข้าด้วยกัน
– การนำข้าวเหนียว มาคลุกเคล้ากับส่วนผสม และใส่ไส้ชนิดต่าง ๆ
– การกรอกส่วนผสมใส่กระบอก
– การเผาข้าวหลาม
แหล่งข้อมูล