วิเคราะห์และสรุป โอกาสการลงทุนของนักลงทุนจีนในย่านอาเซียน หลังเหตุการณ์แพร่ระบาดCOVID-19
วิเคราะห์และสรุป โอกาสการลงทุนของนักลงทุนจี น ในย่านอาเซียน หลังเหตุการณ์ แพร่ระบาดCOVI D-19
*******************
วันที่ 6 มีนาคม 2563
เมื่อเช้านี้ผมมีโอกาสได้อ่ านบทความของ South China Morning Post สื่อชื่อดังของฮ่องกง เกี่ยวกับผลกระทบทางเศรษฐกิ จที่จีนต้องเผชิญอันมาจากกา รระบาดหนักของ COVID-19 โดยในบทความนั้นสรุปไว้ว่า การเติบโตทางเศรษฐกิจจีนในป ี 2020 จะปรับลดลง โดยIMF คาดการณ์ว่า อัตราการเติบโตของจีนจะลดต่ ำลงกว่า 5.6% ในแง่ของ PMI ( Purchasing Managers’ Index) ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ เป็นอีกหนึ่งดัชนีบ่งชี้สภา วะทางเศรษฐกิจของภาคการผลิต และบริการ ซึ่งในจีน Caixin Media Company Ltd. เป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำ ดัชนี เดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา Caixin เผยว่า PMIของจีนลดลงจาก 51.8% เดือนมกราคม เหลือ 26.5% เนื่องจากกำลังผลิตส่วนใหญ่ ได้รับการผลกระทบโดยตรงจากC OVID-19 จึงมีการปิดโรงงาน โดยภาคบริการ โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยว ก็ได้รับกระทบหนัก จากนโยบายจีนปิดเมือง เพื่อสู้ศึกCOVID-19 แต่ล่าสุดจีนได้อัพเดทสถานก ารณ์ในจีนต่อIMF โดยระบุว่า ณ ขณะนี้ กำลังการผลิตในจีนเริ่มเพิ่ มขึ้นทะลุ 60% และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเป็น 90% ในอีกไม่กี่สัปดาห์ข้างหน้า แม้ว่าในภาพรวม เศรษฐกิจจีนจะได้รับผลกระทบ อย่างหนักจากการระบาดในครั้ งนี้ แต่ภายใต้ วิกฤติ มีโอกาสซ่อนไว้อยู่เสมอ อย่างในครั้งนี้ ที่เห็นชัด ได้แก่ เศรษฐกิจดิจิทัล - การขับเคลื่อนโดยการจับจ่าย ใช้สอยออนไลน์ในขณะที่ประชา ชนไม่ออกจากบ้าน ตัวอย่างเช่น 9วันแรกของเทศกาลตรุษจีน (ตั้งแต่ 25 ม.ค. 63) ยอดสั่งซื้อสินค้าอาหารสดแล ะข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตป ระจำผ่านแพลทฟอร์ม JD.com มีการเติบโตถึง 215% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียว กันในปีก่อนหน้า ขณะที่ 每日优鲜 หรือ Miss Fresh สตาร์ทอัพ Food Deliveryที่มาแรงมากในจีน (มี Tencent Holdings เป็นแบ็กอัพในการลงทุน) ก็เติบโตอย่างมากโดยเฉพาะใน ช่วงแรกของการระบาด ซึ่งจำนวนรายการสั่งซื้อเพิ ่มขึ้น 300% เลยทีเดียว หรืออีกตัวอย่างหนึ่งที่เพิ ่งเกิดขึ้นเมื่อปลายเดือนกุ มภาพันธ์ที่ผ่านมา หลังจากจีนเริ่มมีสถานการณ์ ดีขึ้นและผ่อนปรนนโยบายปิดเ มืองอู่ฮั่น :หลังจากร้านต่างๆเริ่มกลับ มาเปิดให้บริการประมาณ57% เมื่อวันที่ 25 ก.พ.63 พบว่าแค่วันนั้นเพียงวันเดี ยว ก็มียอดสั่งอาหารออนไลน์ในเ มืองอู่ฮั่น 130,000รายการ ตัวอย่างนี้ก็เป็นตัวอย่างไ ด้อย่างดีว่า แม้วิกฤติจะเริ่มผ่านพ้น แต่คนจีนทุกช่วงวัยได้คุ้นช ินกับการใช้บริการออนไลน์ที ่เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด นี่คือเหตุผลที่ "จีนกำลังจะขยับขยายมาย่านอ าเซียนมากขึ้น เนื่องด้วยเหตุผลการเติบโตข องธุรกิจที่ปรับจากออฟไลน์ม าสู่ออนไลน์" ในช่วงเดือนกรกฎาคมของปีที่ แล้ว (2019) มีรายงานจาก GlobalTimesสื่อจีนว่า ย่านอาเซียน ASEAN กำลังเป็นย่านที่นักลงทุน Venture Capital จีน หอบเงินมาลงทุนมากที่สุด 3ปีมานี้ ที่Venture Capitalจีน เริ่มเข้ามาลงทุนในตลาดอาเซ ียน และมีแนวโน้มลงทุนเพิ่มขึ้น ทุกปี อย่างในครึ่งแรกของปีนี้ 2019 ก็มีการลงทุนในภูมิภาคนี้ไป แล้วกว่่า 667ล้านดอลล่าร์สหรัฐ เพิ่มจากช่วงเวลาเดียวกันขอ งปีก่อนหน้า สูงถึง 350% 3ปีที่ผ่านมา มีการลงทุนในธุรกิจ Startupภูมิภาคอาเซียน 2.6หมื่นล้านดอลล่าร์สหรัฐ โดยครึ่งหนึ่ง มาจาก VCจีน เหตุผลหลักที่ VCจีน หันมาลงทุนย่านอาเซียน เพราะมองเห็นโอกาสของตลาดอา เซียน โดยเฉพาะตลาดออนไลน์ที่มีจำ นวนผู้ใช้งานออนไลน์กว่า 350ล้านคน จากประเทศกลุ่มอาเซียน อาทิ สิงคโปร์, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, อินโดนีเซีย, ไทย และเวียดนาม โดยธุรกิจที่มีแรงดึงดูดกลุ ่มทุนจีนมากที่สุด คือ กลุ่มเทคโนโลยีใหม่ (AI, FinTech, blockchain) และธุรกิจสุขภาพ-การแพทย์ จากการพูดคุยกับเพื่อนๆชาวจ ีนที่เป็นนักธุรกิจและนักลง ทุน พบว่า นอกจากกลุ่มทุนจีนจะมาลงทุน ในธุรกิจstartup ยังเลือกมาลงทุนในบริษัท-อง ค์กรที่ดำเนินธุรกิจมาสักระ ยะใหญ่ๆและมีแนวโน้มที่จะเต ิบโตได้ดีในอนาคต อย่างบริษัทหลายแห่งในไทยโด ยเฉพาะสายดิจิทัล-ออนไลน์ ก็มีกลุ่มทุนจีน-บริษัทยักษ ์ใหญ่ในจีนมาร่วมลงทุน . อ้ายจงอ้างอิงจาก - http://www.xinhuanet.com/ english/2020-02/11/ c_138774617.htm- https://www.scmp.com/news/ china/money-wealth/article/ 3065082/ coronavirus-imf-again-cuts- 2020-china-growth-forecast -covid- GlobalTimes #อ้ายจง #เล่าเรื่องเมืองจีน #ชีวิตในจีน https://www.blockdit.com/articles/5e61b50db0543a043e2637c8/#